เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในปัจจุบันการเลี้ยงปลาสวยงามกำลังเป็นที่นิยมอย่างมากและแพร่หลายทำให้มีการเพาะพันธุ์ปลาใหม่ๆขึ้นมากมายซึ่งการเลี้ยงปลาสวยงามไม่ใช่แค่น้ำในบ่อสะอาดก็เพียงพอยังต้องคำนึงถึงค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำด้วยทางผู้จัดทำจึงได้คิดค้นถุงขี้เหล็กลดค่าPHในน้ำขึ้นมา
2.1น้ำสำหรับปลาสวยงาม
ที่อยู่ในน้ำ ค่า pH ของน้ำจะอยู่ระหว่าง 0 - 14 โดยมีค่าเป็นกลางที่ pH 7 ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส สำหรับน้ำธรรมชาติโดยทั่วไปจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 5 - 9ตารางที่ 1 แสดงระดับค่าของ pH ที่มีผลต่อการดำรงชีพของสัตว์น้ำจืด
ระดับค่าของ pH
ผลต่อการดำรงชีพของสัตว์น้ำ
4.1 - 6.0 ปลาบางชนิดตาย
ปลาที่ไม่ตาย จะมีการเจริญเติบโตช้า ผลผลิตต่ำ
ระบบสืบพันธุ์ไม่เจริญ
6.5 - 9.0 เหมาะสมต่อการดำรงชีพของสัตว์น้ำ
9.1 - 11.0 การเจริญเติบโตช้า ผลผลิตต่ำ
การเลี้ยงปลาสวยงามในตู้กระจกมักไม่มีปัญหาเรื่องความเป็นกรดของน้ำ เนื่องจากมีการให้ออกซิเจนและมีการใช้เศษหินปะการังในระบบกรองน้ำ แต่จะเกิดปัญหาเรื่องความเป็นด่าง คือผู้เลี้ยงปลามักไม่ค่อยมีการเปลี่ยนถ่ายน้ำ ทำให้มีการสะสมแอมโมเนียจากการขับถ่ายและการย่อยสลายของเศษอาหารมากขึ้น ประกอบกับน้ำมีการหมุนเวียนผ่านเศษปะการังตลอดเวลา จึงทำให้น้ำมีความเป็นด่างสูงขึ้น ถึงแม้จะไม่มีผลทำให้ปลาตาย แต่ก็มักจะทำให้ปลามีสีสันซีดจางลง วิธีการแก้ไขทำโดยการหมั่นเปลี่ยนถ่ายน้ำ
2.2การปรับค่าphของน้ำในบ่อดิน
อาชีพ เลี้ยงปลาในบ่อดิน ถือเป็นอีกหนึ่งอาชีพทางเลือกสำหรับเกษตรกร ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่างน่าพอใจ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ตัวเกษตรกรต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อนำมาปรับเปลี่ยน และ ประยุกต์ ใช้กับพื้นที่ตนเองให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุดการเตรียมบ่อ และ สภาพความเป็นกรด หรือ ด่าง ของน้ำในบ่อเลี้ยงปลา ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของปลาในบ่อดินโดยตรง หากปลาแสดงอาการลอยหัว ขึ้นมาหายใจบนผิวน้ำ หรือ น้ำใสกว่าปกติที่เคยเป็น ถือเป็นความผิดปกติในส่วนของค่าความเป็นกลางของน้ำในบ่อดินแน่นอน ด้วยความใฝ่รู้ เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาควรศึกษาวิธีแก้ไขไว้เบื้องต้น เพื่อให้สามารถนำมาปรับแก้ปัญหาเบื้องต้นได้เป็นอย่างดีเพียงนำ โดโลไมล์ ซึ่งมีประโยชน์ในการสร้างเกล็ดปลาให้แข็งแรง มาใส่ลงในบ่อปลา ในปริมาณ 50 กิโลกรัม/พื้นที่บ่อ 1 ไร่ ด้วยเทคนิคเฉพาะตัว คือ1.เทโดโลไมค์ ใส่ภาชนะพลาสติกปากกว้าง หรือ กาละมัง แล้วยกทั้งกาละมังลงน้ำพร้อมตัวเกษตรกร
2.ใช้ขันตักน้ำในบ่อลงไปผสมในกาละมัง คนให้โดโลไมค์ละลาย แบ่งเป็นส่วนๆ แล้วค่อยๆเทสาดลงในบ่อเลี้ยงปลา
3.เดินผสม พร้อม สาดโดโลไมค์ ไปเรื่อยๆจนหมด ให้ทั่วพื้นที่บริเวณบ่อเลี้ยงปลา
4.ให้ทำแบบนี้วันละ 1 ครั้งๆละ 50 กิโลกรัม ต่อเนื่อง 2 วัน
5.ภายใน 2 วัน หลังสาดโดโลไมค์ เพื่อปรับค่า PH ของน้ำ สีของน้ำในบ่อเลี้ยงปลาจะมีสีเขียวเข้มมากขึ้น นำเครื่องวัดค่า PH มาตรวจสอบ จะได้ที่ระดับ 6-7 ถือว่าเหมาะสม ใบหูกวางเป็นใบเดี่ยวเรียงตัวกันแบบเวียนและสลับให้ถี่ขึ้นที่บริเวณปลายกิ่ง ในธรรมชาติหูกวางไม้ผลัดใบ จะมีการผลัดใบในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม โดยจะร่วงพร้อมกันทั้งต้น จากนั้นช่วงกลางเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นต้นฤดูฝน หูกวางจะแตกใบอ่อนสีเขียวออกมาพร้อมกับแทงช่อดอกออกมาด้วย และช่วงเดือนมิถุนายนก็จะปรากฏผลของหูกวางกระจายอยู่เต็มต้น ลักษณะใบหูกวางที่ร่วงจะมีอยู่สองประเภท คือ กลุ่มที่มีสีแดงและกลุ่มที่มีสีเหลืองอ่อน (ภาพที่ 3) เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของใบหูกวางจะพบองค์ประกอบพวก เถ้า Cellulose Lignin Pentosan Alkaloid และมีปริมาณสารแทนนินอยู่ถึง 12.67 เปอร์เซ็นต์ทั้งนี้ใบหูกวางแห้งที่มีลักษณะสีแดงจะมีสารประกอบที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งแบคทีเรียมากกว่าใบสีเหลืองที่จะมีสารประกอบที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งแบคทีเรีย รวมทั้งปริมาณแทนนินน้อยกว่า
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ มักนิยมเรียกว่า “pH” หมายถึงค่าความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออน (H+)
4.0 หรือต่ำกว่า เป็นอันตรายมักทำให้ปลาตาย
11.1 ขึ้นไป เป็นอันตรายต่อปลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น